วันพฤหัสบดีที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553

สาระการเรียนรู้พื้นฐาน มัธยมศึกษาตอนต้น

คำอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์

รายวิชา   ว ๒๑๑๐๑  วิทยาศาสตร์         ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    ภาคเรียนที่ ๑
                                                  
จำนวน  o     ชั่วโมง/ภาคเรียน          จำนวน  ๑.๕  หน่วยกิต
................................................................................................................................................................
วิเคราะห์  ส่วนประกอบและหน้าที่ของเซลล์  โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  การสร้างอาหารของพืช   การแพร่และออสโมซิส  การลำเลียงสารในพืช  การสืบพันธุ์ของพืชพฤติกรรมและการตอบสนองของพืชต่อแสง  น้ำ และการสัมผัส  เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์  ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืช    ส่วนประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ  อุณหภูมิของอากาศ  ความชื้น  ความกดอากาศ  ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ  การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ  การพยากรณ์อากาศ  
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การสืบเสาะหาความรู้  การสำรวจตรวจสอบ  การสืบค้นข้อมูล  บันทึก  จัดกลุ่มข้อมูล  การอภิปราย   และบูรณาการการเรียนรู้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  และภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  มีความสามารถ  ในการตัดสินใจ  เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน  มีจิตวิทยาศาสตร์  คุณธรรม  จริยธรรม  และค่านิยมที่เหมาะสม    

              รหัสตัวชี้วั       ว๑.๑ ม.๑/๑, ๒, ๓ 
ว๖.๑ ม.๑/๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗ 
ว๘.๑ ม.๑/๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙           
 









คำอธิบายรายวิชา

 รายวิชา   ว ๒๑๑๐๒  วิทยาศาสตร์                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    ภาคเรียนที่ ๒
จำนวน  o     ชั่วโมง/ภาคเรียน                     จำนวน  ๑.๕  หน่วยกิต
................................................................................................................................................................
 วิเคราะห์  การจำแนกสาร   สารเนื้อเดียว   สารเนื้อผสม   สารแขวนลอย   คอลลอยด์   สมบัติของสาร  การเปลี่ยนสถานะของสารและการละลายของสาร   สารละลายกรด-เบส      ปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์ การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ   พลังงาน การถ่ายโอนความร้อน การขยายตัวของวัตถุ การดูดกลืนแสงและการคายความร้อน สมดุลความร้อน ผลของความร้อนต่อการขยายตัวของสาร       
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การสืบเสาะหาความรู้  การสำรวจตรวจสอบ   การสืบค้นข้อมูล  บันทึก  จัดกลุ่มข้อมูล  การอภิปราย   และบูรณาการการเรียนรู้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  และภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  มีความสามารถ  ในการตัดสินใจ  เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน  มีจิตวิทยาศาสตร์  คุณธรรม  จริยธรรม  และค่านิยมที่เหมาะสม    

                รหัสตัวชี้วัด    ว๓.๑ ม.๑/๑, ๒, ๓, ๔ 
ว๓.๒ ม.๑/๑, ๒, ๓  
ว๔.๑ ม.๑/๑, ๒ 
ว๕.๑ ม.๑/๑, ๒, ๓, ๔      
 ว๘.๑ ม.๑/๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙
  










คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา   ว ๒๒๑๐๑  วิทยาศาสตร์                   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    ภาคเรียนที่ ๑
จำนวน  o     ชั่วโมง/ภาคเรียน                      จำนวน  ๑.๕  หน่วยกิต
................................................................................................................................................................
วิเคราะห์  โครงสร้างการทำงานและความสัมพันธ์ของระบบต่าง ๆ ของมนุษย์และสัตว์  พฤติกรรมของมนุษย์และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต  การใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์  การปรับปรุงพันธุ์  การเพิ่มผลผลิตของสัตว์  สารอาหารในอาหารมีปริมาณพลังงานและสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย  สารในสิ่งเสพติด  ธาตุและสารประกอบ  หลักการแยกสาร  การเปลี่ยนแปลงสาร  การเกิดปฏิกิริยาเคมี  ปฏิกิริยาในชีวิตประจำวัน  และผลของปฏิกิริยาเคมีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม  โลกและการเปลี่ยนแปลง  ดิน  หิน  แร่  น้ำ 
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การสืบเสาะหาความรู้  การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล  บันทึก  จัดกลุ่มข้อมูล  การอภิปราย   และบูรณาการการเรียนรู้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  และภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  มีความสามารถ  ในการตัดสินใจ  เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน  มีจิตวิทยาศาสตร์  คุณธรรม  จริยธรรม  และค่านิยมที่เหมาะสม    

รหัสตัวชี้วัด         ว๑.๑ ม.๒/๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖
 ว๓.๑ ม.๒/๑, ๒, ๓  
 ว๓.๒ ม.๒/๑, ๒, ๓, ๔ 
 ว๖.๑ ม.๒/๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑o  
 ว๘.๑ ม.๒/๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙










คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา   ว ๒๒๑๐๒  วิทยาศาสตร์               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    ภาคเรียนที่ ๒
จำนวน  o     ชั่วโมง/ภาคเรียน                      จำนวน  ๑.๕  หน่วยกิต
................................................................................................................................................................
วิเคราะห์  แรง  แรงลัพธ์  การสะท้อนของแสง  การหักเหของแสง  ความสว่าง  การดูดกลืนแสงสี  การมองเห็นสีของวัตถุ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การสืบเสาะหาความรู้  การสำรวจตรวจสอบ   การสืบค้นข้อมูล  บันทึก  จัดกลุ่มข้อมูล  การอภิปราย   และบูรณาการการเรียนรู้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  และภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  มีความสามารถ  ในการตัดสินใจ  เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน  มีจิตวิทยาศาสตร์  คุณธรรม  จริยธรรม  และค่านิยมที่เหมาะสม    

รหัสตัวชี้วัด         ว๔.๑ ม.๒/๑, ๒  
ว๕.๑ ม.๒/๑, ๒, ๓  
ว๘.๑ ม.๒/๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙















คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา   ว ๒๓๑๐๑  วิทยาศาสตร์                  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    ภาคเรียนที่ ๑
จำนวน  o     ชั่วโมง/ภาคเรียน                    จำนวน  ๑.๕  หน่วยกิต
................................................................................................................................................................
วิเคราะห์  หน่วยทางพันธุกรรม  กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม  ความผิดปกติ   และโรคทางพันธุกรรม   ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น  ผลของ   ความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์  สัตว์  พืช  และสิ่งแวดล้อม  เทคโนโลยีชีวภาพต่อ    การดำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม  องค์ประกอบของระบบนิเวศ  ความสัมพันธ์ของ  ระบบนิเวศ  การถ่ายทอดพลังงาน          วัฏจักรของน้ำ  วัฏจักรคาร์บอน  ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง  ขนาดของประชากรในระบบนิเวศ  ความเร่ง  และผลของแรงลัพธ์ที่ทำต่อวัตถุ   แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา  แรงพยุงของของเหลวที่กระทำต่อวัตถุ 
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การสืบเสาะหาความรู้  การสำรวจตรวจสอบ   การสืบค้นข้อมูล  บันทึก  จัดกลุ่มข้อมูล  การอภิปราย   และบูรณาการการเรียนรู้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  และภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  มีความสามารถ  ในการตัดสินใจ  เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน  มีจิตวิทยาศาสตร์  คุณธรรม  จริยธรรม  และค่านิยมที่เหมาะสม    
               
   รหัสตัวชี้วัด      ว๑.๒ ม.๓/๑, ๒, ๓  
 ว๒.๑ ม.๓/๑, ๒, ๓, ๔    
 ว๒.๒ ม.๓/๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖                            
 ว๔.๑ ม.๓/๑, ๒, ๓








คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา   ว ๒๓๑๐๒  วิทยาศาสตร์           ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    ภาคเรียนที่ ๒
จำนวน  o     ชั่วโมง/ภาคเรียน                   จำนวน  ๑.๕  หน่วยกิต
................................................................................................................................................................
วิเคราะห์  ความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน์  โมเมนต์ของแรง  การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงและแนวโค้ง  งาน  พลังงานศักย์โน้มถ่วง  พลังงานจลน์        กฎการอนุรักษ์พลังงาน  ความต่างศักย์  กระแสไฟฟ้า  ความต้านทาน  พลังงานไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า  การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน  ตัวต้านทาน  ไดโอด  ทรานซิสเตอร์  การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นที่มีทรานซิสเตอร์  ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์  โลก  ดวงจันทร์  และดาวเคราะห์อื่น  และผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก  องค์ประกอบของเอกภพ          กาแลกซี่  ระบบสุริยะ  ตำแหน่งของกลุ่มดาว  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์  ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ 
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การสืบเสาะหาความรู้  การสำรวจตรวจสอบ    การสืบค้นข้อมูล  บันทึก  จัดกลุ่มข้อมูล  การอภิปราย   และบูรณาการการเรียนรู้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  และภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  มีความสามารถ  ในการตัดสินใจ  เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน  มีจิตวิทยาศาสตร์  คุณธรรม  จริยธรรม  และค่านิยมที่เหมาะสม    
               
  รหัสตัวชี้วัด     ว๔.๒ ม.๓/๑, ๒, ๓  
ว๕.๑  ม.๓/๑, ๒, ๓, ๔, ๕  
ว๗.๑  ม.๓/๑, ๒, ๓                           
ว๗.๒ ม.๓/๑

1 ความคิดเห็น:

  1. ข้อมูลจำเป็นที่จะต้องมีในบล็อก
    1.ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    2.ปฏิทินปฏิบัติงาน
    3.ขั้นตอนการดำเนินงาน
    4.เอกสารดาวน์โหลดของงานตัวเอง
    5.บุคลากรของงาน
    6.รายงานการประชุมของกลุ่มงานตัวเอง
    7.ภาพกิจกรรม บอกด้วยว่าสอดคล้องกับงานประกัน มาตรฐาน ตัวบ่งชี้อะไร
    8.ข้อมูลงานของตัวเอง
    9.บทความของงานตนเอง บอกด้วยว่าสอดคล้องกับงานประกัน มาตรฐาน ตัวบ่งชี้อะไร

    ตอบลบ